วันพฤหัสบดีที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2556

โครงสร้างโปรแกรมภาษา

โครงสร้างของโปรแกรม 1 โปรแกรมปาสคาล โปรแกรมในภาษาปาสคาล แบ่งเป็น 3 ส่วนคือ 1. ส่วนหัว (Heading) เป็นการประกาศชื่อของโปรแกรม ขึ้นต้นด้วยคำว่า PROGRAM ตามด้วยชื่อของโปรแกรม และจบบรรทัดด้วย ; รูปแบบ PROGRAM ชื่อโปรแกรม (รายชื่ออุปกรณ์); ตัวอย่าง PROGRAM EXAM1; PROGRAM EXAM1(INPUT,OUTPUT); ข้อสังเกต ชื่ออุปกรณ์ คือ INPUT, OUTPUT หรือชื่อของไฟล์ที่เกี่ยวข้องภายในโปรแกรมถ้าไม่ระบุจะถือว่า INPUT เข้าทาง keyboard และ OUTPUT ออกทางจอภาพ 2. ส่วนข้อกำหนด (Declaration part) คือส่วนตั้งแต่ส่วนหัวไปจนถึงคำว่า BEGIN ของโปรแกรมหลัก และเป็นส่วนที่เรากำหนดค่าต่าง ๆ ดังนี้ 2.1 VAR เป็นการกำหนดแบบของข้อมูลให้แก่ตัวแปร รูปแบบ VAR รายชื่อตัวแปร : ประเภทของข้อมูล; ตัวอย่าง VAR I,J,K : INTEGER; NAME : STRING; SALARY : REAL; 2.2 TYPE เป็นการกำหนดแบบของข้อมูลขึ้นใหม่ รูปแบบ TYPE ชื่อของแบบ = ประเภทหรือค่าของข้อมูล; ตัวอย่าง TYPE SCORE = INTEGER; WEEK = (MON, TUE, WED, THU, FRI); VAR TEST, MIDTERM, FINAL : SCORE; DAY : WEEK; จากตัวอย่างต้องประกาศชื่อแบบของตัวแปรก่อนแล้วจึงประกาศชื่อตัวแปรที่เป็นแบบ 2.3 CONST เป็นการกำหนดค่าคงที่ รูปแบบที่ 1 CONST รายชื่อค่าคงที่ = ค่าที่กำหนด; รูปแบบที่ 2 CONST รายชื่อค่าคงที่ : ประเภทของข้อมูล = ค่าที่กำหนด; ตัวอย่าง CONST HEAD = ‘EXAMINATION’; CONST A = 15; CONST SALARY : REAL = 8000.00; 2.4 LABEL ใช้คู่กับคำสั่ง GOTO ภายในโปรแกรม รูปแบบ LABEL รายชื่อของ LABEL; ตัวอย่าง LABEL 256,XXX; เช่น GOTO 256; GOTO XXX; 3. ส่วนคำสั่งต่าง ๆ (Statement Part) เป็นส่วนสุดท้ายของโปรแกรม ขึ้นต้นด้วย “BEGIN” และปิดท้ายด้วย “END.” ตัวอย่าง BEGIN Statement หรือคำสั่งต่าง ๆ ; END. 2 โปรแกรมภาษา C โครงสร้างของภาษา C ทุกโปรแกรมของภาษา C มีโครงสร้างเป็นลักษณะดังรูป 3 Basic โดรงสร้างในการเขียนโปรแกรมด้วย Visual Basic • การประกาศตัวแปร o แบบ Implicit o แบบ Explicit • กฎการตั้งชื่อตัวแปรและค่าคงที่ o การตั้งชื่อคอนโทรลและอ๊อบเจ็กต์ ตามคำแนะนำของไมโครซอฟท์ • ชนิดของข้อมูล • การใช้งานตัวแปรแบบใช้สัญลักษณ์พิเศษกำกับ • ขอบเขตของตัวแปร o ตัวแปรแบบ Local o ตัวแปรแบบ Public • การใช้งานตัวแปรร่วมระดับโพรซีเดอร์ • การตั้งชื่อตัวแปรแบบบอกชนิดและขอบเขต • ตัวแปรอาร์เรย์ o แบบสแตติก o แบบไดนามิก • การสร้างตัวแปรอาร์เรย์มากกว่า 1 มิติ • การใช้งานคอนโทรลอาร์เรย์ • การสร้างชนิดของข้อมูลขึ้นใช้เอง • การประกาศค่าคงที่ • ตัวดำเนินการใน Visual Basic 6.0 o ด้านคณิตศาสตร์ o ด้านตรรกะ o ด้านการเปรียบเทียบ o ด้านเชื่อมข้อความ 4 Assembly โปรแกรม จะถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำ ซึ่งอยู่ในรูปแบบของเลขไบนารี่ที่เรียกว่าภาษา Machine ซึ่งเป็นภาษาที่สามารถ ติดต่อให้คอมพิวเตอร์ เข้าใจได้ ภาษา Machine นี้จะจัดให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นเลขฐานสิบหก (HEX) เช่น คำสั่ง 8 บิต 11101011B (B-ไบนารี่) เขียนได้เป็น 0EBH(H-ฐานสิบหก) แต่ก็เป็นการที่จะเข้าใจความหมาย ได้ยากในการใช้งาน การที่จะทำความเข้าใจภาษา Machine จะมีการใช้สัญลักษณ์ (Symbols) ที่เรียกว่า Mnemonics เพื่อแทนความหมายของคำสั่ง เช่น MOV A,#67H หมายความว่านำข้อมูลค่าคงที่ 67H ไปเก็บไว้ใน reg. A) โปรแกรมที่เขียนด้วยรหัส Mnemonics เรียกว่า ภาษา Assembly และก่อนที่จะให้ CPU ทำงานตามโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษา Assembly ได้ แต่ต้องเปลี่ยนให้เป็นภาษา Machine ก่อน โดยใช้ โปรแกรมแอสเซมเบลอ 5 Jawa โครงสร้างโปรแกรมภาษาจาวา public class ชื่อคลาส { public static void main(String[] agrs) { ประโยคคำสั่งต่างๆ ของโปรแกรม; ..................................................; } } ตัวอย่างโปรแกรมภาษาจาวา ไฟล์ Example.java class Example { public static void main(String[] args) { String dataname = “Java Language“; System.out.println(“My name is OAK“); System.out.println(“OAK is a “ + dataname +“. “); } } หมายเหตุ Compile : javac Example.java จะได้ไฟล์ Example.class Run : java Example Output : My name is OAK OAK is a Java Language คำอธิบาย - method main( ) จะเป็น method หลักที่ใช้ในการ run program ดังนั้นการกระทำต่าง ๆ ที่ต้องการให้เกิดขึ้น ในการ run program จะต้องทำการเขียนคำสั่งไว้ใน method นี้ - การแสดงผลทางจอภาพ (Console Output) ใช้ method ชื่อ "println" ซึ่งอยู่ใน System.outคำสั่งนี้จะรับข้อมูลที่เป็น String เพื่อนำมาแสดงผลทางจอภาพ
6 Cobol ภาษาโคบอล (COBOL programming language) เป็นภาษาโปรแกรมระดับสูงภาษาหนึ่งที่อยู่มาอย่างยาวนาน COBOL ย่อมาจาก Common Business Oriented Language เป็นภาษาที่นิยมนำไปใช้ทางธุรกิจ ถูกพัฒนาขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1959 โดยนักคอมพิวเตอร์กลุ่มหนึ่งที่เรียกตัวเองว่า Conference on Data Systems Languages (CODASYL) และตั้งแต่ปี ค.ศ. 1959 ภาษาโคบอลมีการแก้ไขและปรับปรุงอยู่ตลอด ดังนั้น เพื่อขจัดปัญหาความแตกต่างของตัวภาษาโคบอลในแต่ละเวอร์ชัน สถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกัน (ANSI) จึงได้พัฒนามาตรฐานกลางขึ้นมาในปี ค.ศ. 1968 เป็นที่รู้จักกันในนามของ ANS COBOL ต่อมาเมื่อ ปี ค.ศ. 1974 ทาง ANSI ได้นำเสนอ ANS COBOL รุ่นใหม่ที่มีคุณสมบัติที่ดีกว่ารุ่น 1968 และในปี ค.ศ. 1985 ANSI ก็นำเสนออีกรุ่นหนึ่งที่มีคุณสมบัติมากกว่ารุ่นปี 1974 รูปแบบภาษาโคบอลแบ่งออกเป็น 4 ดิวิชั่น คือ 1. Identification division การกำหนดชื่อโปรแกรมและชื่อผู้เขียน 2. Environment division การอธิบายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 3. Data division การอธิบายเกี่ยวกับการประมวลผลข้อมูล 4. Procedure division การอธิบายเกี่ยวกับขั้นตอนการประมวลผล

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น